วันเสาร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

การเขียนโปรแกรมเท็กโหมด ภาษาเบสิก







 รูปแบบการเขียนโปรแกรมภาษาเบสิก เครื่องหมายในการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ประเภทของคำสั่งในภาษาเบสิก
การเขียนโปรแกรมจะประกอบด้วย
1. ค่าคงที่ (Constants)
2. ตัวแปร (Variable)
3. นิพจน์ (Expression)
แต่องค์ประกอบของโปรแกรมที่สำคัญยังต้องประกอบไปด้วย รูปแบบในการเขียนโปรแกรมและคำสั่ง เฉพาะสำหรับการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา ซึ่งรูปแบบและคำสั่งของโปรแกรมภาษาเบสิกก็จะมีรูปแบบเฉพาะเป็นของตนเองเช่นกัน


ประเภทคำสั่งในภาษาเบสิก

1. คำสั่งสำหรับรับและส่งข้อมูล
คือ กลุ่มคำสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อรับข้อมูลเข้าไปทำการประมวลผลในโปรแกรมและกลุ่มคำสั่งที่สั่งให้โปรแกรมแสดงผลที่อุปกรณ์ประกอบคำสั่งเหล่านี้ได้แก่
คำสั่ง INPUT เป็นคำสั่งที่รับข้อมูลโดยการป้อนผ่านแป้นพิมพ์ เพื่อให้โปรแกรมรับทราบว่าใส่ข้อมูลใด เมื่อเวลาแสดงผลจะแสดงเครื่องหมายคำถาม เพื่อป้อนข้อมูลที่ต้องการต่อท้ายเครื่องหมายคำถาม
.รูปแบบคำสั่ง INPUT
   INPUT Variable, Variable..n
Variable คือ ค่าของตัวแปรแบบตัวเลขหรือแบบสตริง
รายการตัวแปร Variable ถึง n จะเป็นตัวแปรที่เป็นจำนวนหรือตัวแปรอักขระก็ได้ในกรณีที่มีตัวแปรมากกว่า 1 ตัวแปร ให้ใช้เครื่องหมายคอมม่า (,) คั่นระหว่างตัวแปรแต่ละตัว เมื่อโปรแกรมรันมาถึงบรรทัดที่สั่งให้มีการรับค่าจะเกิดเครื่องหมาย ? รอให้ผู้ใช้ใส่ค่าเข้าไป การใส่ค่านี้จะต้องใส่ค่าให้ตรงกับตัวแปรที่กำหนด


ตัวอย่าง
การใช้คำสั่ง INPUT เพื่อรอรับตัวอักษรและตัวเลข
           PRINT “YOUR NAME IS =”
           INPUT NA$
           PRINT “YOUR AGE IS =”
           INPUT AGE

ผลลัพธ์
           YOUR NAME IS =
           ? watcharin
ใส่ค่าที่เป็นตัวอักษร ตัวเลขหรือพยัญชนะต่าง
           YOUR AGE IS =
           ? 18
ใส่ค่าที่เป็นตัวเลขเท่านั้น


2. คำสั่ง Print
      คำสั่ง Print เป็นคำสั่งในภาษาเบสิก ใช้เพื่อกำหนดรูปแบบการพิมพ์ข้อความ หรือแสดงผลข้อมูลที่โปรแกรมทำงานเสร็จแล้วออกทางจอภาพ ข้อมูลที่แสดงออกมานั้นอาจจะมีค่าเก็บอยู่ในตัวแปร ซึ่งตัวแปรในภาษาเบสิกมีอยู่ด้วยกันหลายประเภท เช่นตัวแปรตัวเลข ก็จะเก็บค่าที่เป็นตัวเลข ตัวแปรตัวอักษร ก็จะเก็บค่าที่เป็นข้อความ       นอกจากนี้การแสดงผลลัพธ์ที่มีค่าเก็บอยู่ในตัวแปรแล้วยังอาจจะแสดงผลลัพธ์ค่าคงที่ที่เป็นตัวเลขหรือแสดงข้อความเลยก็ได้ หรือจะใช้คำสั่งนี้ในการบันทึกข้อมูลให้เก็บอยู่ในรูปของไฟล์ ถ้าต้องการแสดงผลลัพธ์ที่เป็นข้อความจะใช้คำสั่ง Print แล้วตามด้วยข้อความที่จะแสดงแต่ต้องใช้เครื่องหมายคำพูดเปิด-ปิด คร่อมข้อความที่ต้องการแสดงไว้ด้วย

รูปแบบของคำสั่ง Print

           Print “ข้อความ”[;][,] ตัวแปร1[;][,] ตัวแปร1.. ตัวแปร n
ตัวอย่าง การใช้คำสั่ง print

       การพิมพ์ข้อความ                                 ผลลัพธ์
      print “I LOVE YOU”                         I LOVE YOU
      print “I Love You”                             I Love You
      print “100-70”                                    100-70








4.คำสั่ง Color เป็นคำสั่งในการใส่สีให้กับตัวอักษร


รูปแบบ

COLOR สีตัวเลข, สีพื้นหลัง


ผลลัพธ์


5.  คำสั่ง LOCATE
กำหนดตำแหน่ง CURSOR ยังบรรทัด และคอลัมน์ที่ต้องการ
รูปแบบ LOCATE [ row% ] [,[cursor%] [,start%[,stop%]]]]
ตัวอย่าง
CLS
LOCATE 1,30
Print ”watcharin” 
End
 ผลลัพธ์
จะแสดง คำว่า watcharin  ใน แถวที่1 คอลัมม์ที่ 30






9. คำสั่ง ARRAY (แบบเรีรยงลำดับ)
รูปแบบคำสั่ง  ชื่อตัวแปร, ชนิดข้อมูล,(ตำแหน่งของข้อมูล)

ตัวอย่าง

ผลลัพธ์

























12.






13. คำสั่ง FOR…NEXT เป็นคำสั่งที่ให้โปรแกรมทำงานตามจำนวนรอบที่ได้กำหนดไว้

ตัวแปรที่ตามหลังคำสั่ง FOR…NEXT ต้องเป็นตัวเดียวกัน และเป็นตัวแปรชนิดตัวเลขเท่านั้น ค่าเริ่มต้นและค่าสุดท้ายอาจเขียนด้วยตัวเลข เช่น FOR I = 1 TO 10 หรือเขียนด้วยตัวแปร เช่น FOR I = 1 TO Numค่าเพิ่มขึ้นที่ตามหลัง STEP เป็นตัวเลข ใช้ในการนับ STEP เพิ่มขึ้น เช่น 0.5 , 1 , 2 ,3,… และ ใช้ในการนับ STEP ลดลง เช่น –1 , –2
ตัวอย่างการเขียนคำสั่ง FOR…NEXT













14. คำสั่ง  IF…THEN…ELSE…เป็นคำสั่งที่ใช้ในการตรวจเงื่อนไข               เงื่อนไข
              ถ้าเงื่อนไขเป็นจริง  จะทำคำสั่ง  1  หลังคำว่า  THEN              
ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จ  จะทำคำสั่ง  2  หลังคำว่า  ELSE
      





15. คำสั่ง Select case
คำสั่ง Select case   เป็นคำสั่งสำหรับสร้างเงื่อนไขคล้ายคลึงกับ if else ifการทำงานของโปรแกรมว่า ถ้าเหตุการณ์แรกเป็นจริง ก็จะให้ทำงานตามที่กำหนดไว้ แต่ถ้าไม่เป็นจริงให้เข้าสู่สถานการณ์ที่ 2 ที่เตรียมไว้ ถ้าเป็นจริงก็ให้ทำงานตามที่กำหนด
แต่ถ้าไม่เป็นจริงก็ให้ทำงานตามที่กำหนดไว้ถัดไป
จนกระทั่งเหตการณ์เป็นเท็จทั่งหมดจึงทำงานตามที่กำหนดไว้สุดท้าย
รูปแบบคำสั่ง
รูปผังงานของ select....... case









































ตัวอย่างการตัดเกรด  เมื่อใช้คำสั่ง Select ... Case จะได้  ดังนี้




เมื่อRUNแล้วทำการป้อนค่า ชื่อ  และคะแนน ผลลัพธ์จะแสดงเกรดขึ้นมาให้